วันอาทิตย์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554

ระบบฐานข้อมูล

การสร้างรายงาน (REPORT)
ตอนที่ 1 แบบปรนัย
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
ตอบ ง. Chat
2. มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 คือมุมมองใด
ตอบ ก. Layout View
3. Page Footer คือส่วนใด
ตอบ ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฏอยู่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4 หลังจากแทรกชื่อเรื่อง(Title)ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัตโนมัติ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
5. ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
ตอบ ง. Label
6. ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
7. ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
ตอบ ข. Page Footer
8. ในการป้อนข้อมูลสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ ข. Text box
9. ฟังก์ชั่นใดที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ตอบ ง. Avg
10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
ตอบ ข.= Sum ([Salary])
ตอนที่ 2 จับคู่
1. ฌ Columnar Report ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
2. จ Tabular Report ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
3. ฉ Label Report ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
4. ญ Page Header ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
5. ข Report Header จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
6. ก Detail ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
7. ช Pages ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8. ค Page ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
9. ง Sum ฌ.นับจำนวนทั้งหมด
10. ซ Count ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน

ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ มี 3 แบบ คือ
1. รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) เรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่างทีละ 1 เรคคอร์ด
2. รายงานแบบตาราง (Tabular Report) แสดงแบบแถวและคอลัมน์ แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
โดยเรียงจากซ้ายไปทางขวาของรายงาน
3. รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) สำหรับพิมพ์ป้ายฉลากต่าง ๆ เช่น ฉลากติดซองจดหมาย เป็นต้น
2. จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
ตอบ 1. Report Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงานเท่านั้น เช่น โลโก้ของรายงาน แสดงชื่อรายงาน เป็นต้น
2.Page Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของหน้ากระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงชื่อกำกับฟิลด์(รายงานแบบตาราง) แสดงเลขหน้าเป็นต้น
3. Detail คือ พื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและในแบบสอบถามข้อมูล
4. Page Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของกระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความ
หรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงเลขหน้า เป็นต้น
5. Report Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น เช่น แสดงผลการคำนวณ แสดงวันที่จัดพิมพ์ เป็นต้น
3. จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ตอบ ข้อดี ข้อเสีย
-สะดวกรวดเร็ว - ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์ม
-สามารถคำนวณข้อมูลได้
-สามารถพิมพ์ออกมาได้

ระบบฐานข้อมูล

การสร้างรายงาน (REPORT)
ตอนที่ 1 แบบปรนัย
1. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
ตอบ ง. Chat
2. มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 คือมุมมองใด
ตอบ ก. Layout View
3. Page Footer คือส่วนใด
ตอบ ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฏอยู่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4 หลังจากแทรกชื่อเรื่อง(Title)ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัตโนมัติ
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
5. ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
ตอบ ง. Label
6. ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
7. ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
ตอบ ข. Page Footer
8. ในการป้อนข้อมูลสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ ข. Text box
9. ฟังก์ชั่นใดที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
ตอบ ง. Avg
10. ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
ตอบ ข.= Sum ([Salary])
ตอนที่ 2 จับคู่
1. ฌ Columnar Report ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
2. จ Tabular Report ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
3. ฉ Label Report ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
4. ญ Page Header ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
5. ข Report Header จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
6. ก Detail ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
7. ช Pages ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8. ค Page ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
9. ง Sum ฌ.นับจำนวนทั้งหมด
10. ซ Count ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน

ตอนที่ 3 แบบอัตนัย
1. การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ มี 3 แบบ คือ
1. รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) เรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่างทีละ 1 เรคคอร์ด
2. รายงานแบบตาราง (Tabular Report) แสดงแบบแถวและคอลัมน์ แสดงข้อมูลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
โดยเรียงจากซ้ายไปทางขวาของรายงาน
3. รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) สำหรับพิมพ์ป้ายฉลากต่าง ๆ เช่น ฉลากติดซองจดหมาย เป็นต้น
2. จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
ตอบ 1. Report Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงานเท่านั้น เช่น โลโก้ของรายงาน แสดงชื่อรายงาน เป็นต้น
2.Page Header คือ พื้นที่ในส่วนหัวของหน้ากระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงชื่อกำกับฟิลด์(รายงานแบบตาราง) แสดงเลขหน้าเป็นต้น
3. Detail คือ พื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและในแบบสอบถามข้อมูล
4. Page Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของกระดาษ เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความ
หรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน เช่น แสดงเลขหน้า เป็นต้น
5. Report Footer คือ พื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น เช่น แสดงผลการคำนวณ แสดงวันที่จัดพิมพ์ เป็นต้น
3. จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่ม Ascendingและคลิกที่ปุ่มDescending ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่Orientationเลือกแนวกระดาษเลือก Portraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
ตอบ 1. คลิกที่แท็บ Create
2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customize แล้วกำหนดขนาดใหม่
5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
ตอบ ข้อดี ข้อเสีย
-สะดวกรวดเร็ว - ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์ม
-สามารถคำนวณข้อมูลได้
-สามารถพิมพ์ออกมาได้

ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดบทที่ 4 การสร้างฟอร์ม (Form)

1.ความหมายของฟอร์ม (Form)
ตอบ คือ หน้าจอสำหรับติดต่อกับผู้ใช้งาน ที่สร้างขึ้นมาเพื่อนช่วยให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View) และยังช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับแอปพลิเคชั่นที่ได้สร้างขึ้นมาอีก
2.ประเภทของฟอร์มมีกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ มี 5 แบบ คือ
1.ฟอร์มแบบคอลัมน์ (Columnar Form) หรือฟอร์มเดี่ยว ซึ่งเป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูล หนึ่งเรดคอร์ดต่อหนึ่งหน้าของฟอร์ม
2.ฟอร์มแบบตาราง(Tabular Form) เป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรดคอร์ด
3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form) เป็นฟอร์มที่แสดงทุกเรดคอร์ดในลักษณะแผ่นตาราง เช่นเดียวกับตาราง (Table)
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Table Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลหลายมิติหรือหลายฟิลด์ ทำให้สามารถดูข้อมูลได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Chart Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ ซึ่งสามารถดูข้อมูลได้หลายฟิลด์ที่ต้องการ
3.มุมมองของฟอร์มมีกี่มุมมอง อะไรบ้าง
ตอบ 3 มุมมอง คือ
1.มุมมองเค้าโครง (Layout View) เป็นมุมมองใหม่ที่เพิ่มเข้ามาใน Access 2007 ซึ่งคล้ายกับมุมมองการออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของฟอร์มได้ในบางส่วน เช่น การกำหนดสี ปรับขนาดอักษร ปรับขนาดฟิลด์ เป็นต้น แต่แสดงข้อมูลคล้ายในมุมมองฟอร์ม
2.มุมมองการออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองสำหรับสร้างและออกแบบฟอร์ม
3.มุมมองฟอร์ม (Form View) เป็นมุมมองในการแสดงผลข้อมูลและใช้งานฟอร์ม ซึ่งไม่สามารถแก้ไขฟอร์มได้
4.เครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบฟอร์มมีอะไรบ้าง
ตอบ 10 รูปแบบ คือ
1. ปุ่ม Form (ฟอร์มแบบคอลัมน์) เป็นคำสั่งแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
2. ปุ่ม Split Form (ฟอร์มแยก) สามารถเห็น 2 มุมมองในเวลาเดียวกัน คือมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่นตารางข้อมูล แสดงรายการของเรคคอร์ดทั้งหมด
3. ปุ่ม Multiple Items (หลายรายการ) สร้างฟอร์มแบบตาราง
4. ปุ่ม PivotChart เป็นการสร้างแผนภูมิ เพื่อสรุปผลข้อมูลแบบหลายมิติ
5. ปุ่ม From Wizard (ฟอร์มเพิ่มเติม-->ตัวช่วยสร้างฟอร์ม) ใช้เครื่องมือช่วยสร้างฟอร์มที่ เรียกว่า วิซาร์ด ทำให้การสร้างฟอร์มง่ายและเร็วยิ่งขึ้น
6. ปุ่ม Datasheet (แผ่นข้อมูล) สร้างฟอร์มในรูปแบบแผ่นตารางข้อมูล แสดงได้หลายเรคคอร์ดต่อ 1 หน้า สะดวกในการใช้งานกับแป้นพิมพ์ แต่ไม่สามารถสร้างปุ่มคำสั่งบนฟอร์มได้
7. ปุ่ม Modal Dialog (กล่องโต้ตอบ) สร้างฟอร์มในลักษณะไดอะล็อกบ็อกซ์ มีการกำหนดคุณสมบัติแบบ Popup และมีปุ่มในการทำงานให้อัตโนมัติ
8. ปุ่ม PivotTable สำหรับสร้างตารางสรุปข้อมูล
9. ปุ่ม Blank Form (ฟอร์มเปล่า) สร้างฟอร์มเปล่าด้วยการออกแบบเอง จะเข้าสู่การสร้างในมุมมองเค้าโครง(Layout View)
10. ปุ่ม Form Design (ออกแบบฟอร์ม) สร้างฟอร์มเปล่าด้วยการออกแบบเอง

วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554

แบบทดสอบให้เขียนโปรแกรมภาษาHtml





รายชื่อนักศึกษา





รายชื่อนักศึกษาระดับปวส.1 สทส.1

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปีภาคเรียนที่1/2554
ลำดับชื่อ-สกุลชื่อเว็บไซต์บล๊อก
1นายพงศกร นามสุดใจhttp://piingpong48.blogspot.com/
2นายขันติ เข็มทองhttp://jojoget777.blogspot.com/
3นายทศพร ไทยประดิษฐ์http://bigbill235.blogspot.com/
4นายธันวา ไชยเดชhttp://jonaja.blogspot.com/
5นายอภิศักดิ์ กองศรีhttp://exromantic.blogspot.com/
6นายศุภชัย ภิยะแพทย์http://suppachai-artzii.blogspot.com/
7นายภานุพันธ์ ปราณีhttp://panupan32.blogspot.com/
8นายศราวุธ หมวกไหมhttp://toomtamdisny.blogspot.com/
9นายศิริศักดิ์ วิสัยhttp://sirisakwisai.blogspot.com/
10นางสาวมุกดา บัวบกhttp://mukda325.blogspot.com/

วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554

ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดท้ายบทที่2
ตอนที่ 1 แบบปรนัย
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง(Table)ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ    ง. ออบเจ็กต์ที่เก็บข้อมูลในฐานข้อมูล
2.ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
ตอบ    ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสำหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์(Field)หมายถึงอะไร
ตอบ    ค. คอลัมน์
4.เรคคอร์ด(Record)หมายถึงอะไร
ตอบ     ง. ข้อมูล
5.ชนิดข้อมูลแบบ(Text)สามารถเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักษร
ตอบ      ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อมูลจำนวนมากๆจะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ      ก.  Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ       ก.  Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของข้อมูลมีกี่แบบ
ตอบ       ข.  3 แบบ
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นำมาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ       ง. เครื่องหมายจุด(.)
10.ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ        ก. Ascending


ตอนที่
2
  ให้นักเรียนจับคู่ต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1.        Field                                   ก.  กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
2.          Record                               ข.  เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
3.          Memo                                ค.  เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก
4.         OLE object                         ง.  ข้อมูลในแนวแถว
5.         Currency                             จ.  เก็บข้อมูลประเภทข้อมูลที่มีความยาวมากๆ
6.        Attachment                          ฉ.  กำหนดรูปแบบแสดงข้อมูล
7.          Input Mask                         ช.  เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
8.         Format                                ซ.  เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
9.          Descending                         ฌ.  ข้อมูลในแถวคอลัมน์
10.        Ascending                           ญ.  เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
ตอนที่ 3  แบบอัตนัย
1.จงอธิบายประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
          คือ การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพสูง  ผู้ใช้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว มีการจัดเป็นระเบียบ
2.จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก(Primary Key)
          คือ ข้อมูลของแอททริบิวท์มีความเป็นหนึ่งเดียว(Uniqueness) ทุกแถวของตารางจะต้องไม่มีข้อมูลของแอททริบิวท์ที่เป็นคีย์หลักซ้ำกันเลย
         ต้องประกอบด้วยจำนวนแอททริบิวท์ที่น้อยที่สุด()ที่จะสามารถใช้เจาะจงหรืออ้างอิงถึงแถวใดแถวหนึ่งในรีเลชันได้
3.อธิบายความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ(Table Design)และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล(Datasheet View)
       คือ     การสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ เป็นการกำหนดฟิลด์ข้อมูลของตาราง ชนิดข้อมูล และคุณสมบัติของฟิลด์แต่ละฟิลด์ แต่การสร้างตารางแผ่นตารางข้อมูลจะเป็นการป้อนข้อมูลที่จะเก็บไว้ในตาราง
4.จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
    1.คลิกเข้าไปในโปแกรม Microsoft Access 2007 แล้วเลือกที่ฐานข้อมูลเปล่า กำหนดชื่อฐานข้อมูล กำหนดไฟล์ที่ต้องการจะเก็บข้อมูล แล้วกด สร้าง
    2.คลิกเข้าไปที่เมนูมุมมองแล้ว เลือก เมนูการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ
    3.กำหนดชื่อของตาราง
    4.กำหนดชื่อของเขตของข้อมูล
    5.กำหนดชนิดของข้อมูล
    6.กำหนดชื่อคำอธิบายแล้วกำหนดขนาดของขอบเขตข้อมูล
5.ในการสร้างตารางด้วยแม่แบบ(Template)มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
             ข้อดี                                                                                     ข้อเสีย
ทำงานได้สะดวกและรวดเร็ว                                          จะไม่ตรงต่อความต้องการทั้งหมดแต่เรา                                                                                        สามารถเปลี่ยนเองได้       



วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา โปรแกรมเว็ป 1

แบบฝึกหัดที่1

1.อินเตอร์เน็ตหรือที่เรียกกันสั้นๆว่าอย่างไร คืออะไร

ตอบ เรียกสั้นๆว่า"เน็ต" คือ ระบบเครือข่ายที่ใหญ่ที่สุด ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องเข้าด้วยกัน จนเรียกกันได้ว่าเป็น

"เครือข่ายไร้พรมแดน" โดยอาศัยโครงสร้างระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่สะดวก

และรวดเร็ว

2.ลักษณะของระบบอินเตอร์เน็ตมีลักษณะอย่างไร

ตอบ ลักษณะของระบบอินเตอร์เน็ตจะอยู่ในลักษณะ "ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์"(Client-Server)คือ มีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่

เป็นเซิร์ฟเวอร์ คือ "เครื่องแม่ข่าย"หรือ ผู้ให้บริการกับเครื่องที่เป็นไคลเอนท์ คือ "เครื่องลูกข่าย"หรือ ผู้ขอใช้บริการมีการติดต่อสื่อ

สารกันตลอดเวลา ในการติดต่อสื่อสารจะมีชื่อ ที่อยู่ เพื่อจะได้ทราบว่า ข้อมูลถูกส่งมาจากไหน และมีปลายทางอยู่ที่ใด ซึ่ง ชื่อที่อยู่

ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้อินเตอร์เน็ตจะเรียกกันว่า "ไอพีแอดเดรส"(IP Address)เป็นตัวเลขล้วนๆ4ชุดแต่ละชุดมีค่าระหว่าง

0-225คั่นด้วยจุด เช่น 202.146.15.9

3."ไคลเอนท์-เซิอร์เวอร์"(Client-Server)คืออะไร

ตอบ

4.ชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ต เรียกกันว่าอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง

ตอบ

5.บอกประโยชน์ของอินเตอร์เน็ตมาอย่างน้อย5อย่าง

ตอบ1.การติดต่อสื่อสาร รับ-ส่ง จดหมายทางอินเตอร์เน็ต 2. อินเตอร์เน็ตเหมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ ใช้ค้นคว้าหาข้อมูลข่าว

สารต่างๆ ได้รอบโลกไม่ว่าที่ใดก็สามารถหาข้อมูลได้ 3.ซื้อสินค้าและบริการต่างๆทางอินเตอร์เน็ต เช่น สั่งหนังสือ ดูราคาสินค้าเป็น

ต้น 4.ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เช่น เล่นเกมออนไลน์พร้อมๆกันหลายคน ดูหนัง ฟังเพลงจากอินเตอร์เน็ต 5.ใช้อินเตอร์เน็ต

เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ผ่านทางเว็บไซต์ เช่น www.tv3.co.th เว็บไซต์ของ สถานีช่อง 3 เป็นต้น

6.ยกตัวอย่างภัยจากอินเตอร์เน็ตที่มีต่อเยาวชนไทยในปัจจุบันมา3ข้อ

ตอบ1.สื่อลามกผ่านอินเตอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ดลับ ส่งภาพหรือไฟล์ลามกผ่านทางอีเมล์ 2.การแชท (Chat)สนทนาผ่างทาง

อินเตอร์เน็ต 3.การติดเกมออนไลน์

7.เวิลด์ไวด์เว็ป(World Wide Web หรือ WWW หรือ W3)คืออะไร

ตอบ

8.รูปแบบของFTPแบ่งได้เป็นกี่แบบ อะไรบ้าง

ตอบ

9.เว็บบราวเซอร์(Web Browser)หมายถึงอะไร

ตอบ

10.URL (Uniform Resource Locator)คืออะไร ยกตัวอย่างรูปแบบ URL

ตอบ การเข้าถึงข้อมูลใดๆในอินเตอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นเว็บเพจ หรือไฟล์ประเภทอื่น จะต้องรู้ที่อยู่(Address)ของข้อมูลเน้น รูปแบบ

ของที่อยู่นี้ถูกกำหนดไว้เป็นมาตรฐานเรียกว่า URL


ตอนที่ 2
1. ค.
2. ข.
3. ข.
4. ค.
5. ค.
6. ง.
7. ค.
8. ข.
9. ก.
10. ค.
11. ข.
12. ก
13. ค.
14. ง.
15 .ง.

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่1

วิชา สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

วิชาการออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ

แบบฝึกหัดที่1

ระบบคอมพิวเตอร์(computer system)แบ่งออกเป็น 3 สวนหลักๆที่สำคัญ คือ
1. Hardware (ตัวเครื่อง) ได้แก่
- จอภาพ
- คีย์บอร์ด
- CPU
- เมาส์
- สแกนเนอร์
- แทรกบอลล์
- จอยสติ๊ก
- ตัวขับจานแม่เหล็ก
- ตัวขับ ซีดี-รอม
- ไมโครโฟน
- กล้องวิดีโอ
- เครื่องอ่านรหัสแท่งหรือบาร์โค้ด
2. Software (โปรแกรม) แบ่งเป็น 2 อย่างได้แก่
2.1 System Software ได้แก่
- OS
- Utility
- Translation
- Diganostic
2.2 Application Software ประกอบด้วย 2 อย่าง ได้แก่
2.2.1 User Programs (ผู้ใช้เขียนเอง) เช่น
- ภาษา C
- Visual Basic
- Pascal
- C++
- html
- Flash
2.2.2 Package Programs
- เกมส์
- Windows
- MS-office
- PhotoShop
- PhotoScape
- คอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
3. People ware (บุคลากร) ได้แก่
- Programmer
- System Analysis
-เจ้าหน้าที่กราฟิกดีไซน์
- เจ้าหน้าที่สารสนเทส (IT support)
- Application Support
- เจ้าหน้าที่ Admin และ Project co.

บทที่1
Microsoft Office Word 2007
- การเปิดโปรแกรม Microsoft Office Word 2007Word 2007
การสร้างเอกสารด้วย Microsoft Office Word 2007 เรียกสั้น ๆ ว่า “Word” เป็นโปรแกรมที่นิยมใช้พิมพ์เอกสารต่างๆ วิธีการเรียกใช้โปรแกรมทำได้ดังนี้
1. คลิกปุ่ม Start
2. คลิกที่ All Programs
3. คลิกที่ Microsoft Office
4. คลิกที่ Microsoft Office Word 2007
- ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Office Word 2007
จะมีแถบเครื่องมือเพิ่มขึ้นมา ทำให้เรียกใช้งานได้สะดวกมากขึ้น ซึ่งมีส่วนประกอบต่าง ๆ ดังนี้
1. แถบเครื่องมือลัด (Quick Access Toolbar) สำหรับเก็บเครื่องมือที่ใช้งานบ่อย เลื่อนเม้าส์ชี้ที่ปุ่มจะมีคำอธิบายแต่ล่ะปุ่ม เรียกแถบคำอธิบายว่า “Tooltip”
2. ปุ่มกำหนดเครื่องมือด่วนเอง ทดลองคลิกที่ปุ่มนี้ดูคำสั่งภายใน เลือกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด Ribbon จะถูกซ่อน ให้คลิกรายการย่อ Ribbon ให้เล็กที่สุด (ซ้ำ) จะปรากฏแถบ Ribbon ตามเดิม หรือกดคีย์บนแป้นพิมพ์ Ctrl + F1 เพิ่มแสดงหรือซ่อนแถบเครื่องมือ Ribbon
3. ไตเติ้ลบาร์ (Title Bar) แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อไฟล์เอกสารที่เปิดใช้งานอยู่
4. คอนโทรลเมนู (Control Menu) ปุ่มควบคุมการทำงานของหน้าต่างโปรแกรม
5. เมนูบาร์ (Menu Bar) แสดงรายการคำสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรม Word 2007 ให้ทดลองคลิกเมนูหน้าแรก และคลิกเมนูแทรก เมนูเค้าโครงหน้ากระดาษ เมนูการอ้างอิง เมนูการส่งจดหมาย เมนูตรวจทาน เมนูมุมมอง และเมนู Add-In จะเปลี่ยนตามแต่ละเมนู
6. ทูลบาร์หรือริบบอน เป็นแถบเครื่องมือเก็บคำสั่งที่ใช้งาน ช่วยให้การทำงาน ง่ายขึ้น
7. ไม้บรรทัด ใช้แสดงระยะต่างของเอกสาร
8. เครื่องหมายเคอร์เซอร์ (Cursor) เส้นตรงกระพริบ บอกตำแหน่งการเริ่มพิมพ์ข้อความ
9. เมาส์พอยเตอร์ (Mouse Pointer) เรียก ไอบีม I-beam แสดงที่อยู่ของเมาส์
10. มุมมองเอกสาร (View Button) แสดงมุมมองของเอกสาร ว่าเป็นสถานะแบบใด
11. ปุ่มย่อ/ขยายเอกสาร แสดงมุมมองของเอกสาร คลิกปุ่ม – หน้าต่างเอกสารจะย่อมุมมอง หรือคลิกปุ่ม + หน้าต่างเอกสารจะขยาย
12. ปุ่มเลื่อนจอภาพ ใช้เลื่อนจอภาพขึ้นลง ครั้งละ 1 หน้าจอภาพ
13. แถบสถานะ (Status Bar) แสดงสถานการณ์ทำงาน หมายเลขหน้าในเอกสาร
14. สโครลบาร์ (Scroll Bar) เลื่อนพื้นที่การทำงานขึ้นลง
15. สโครลบ๊อกซ์ (Scroll Box) ลากเลื่อนขึ้นลงอย่างรวดเร็ว
16. สโครลแอโร่ (Scroll Arrow) คลิกเลื่อนลูกศรเลื่อนขึ้นลงทีละขึ้น
- เตรียมพร้อมก่อนใช้งานโปรแกรมเป็นหัวข้อพิเศษในการจัดรูปแบบให้เหมาะสมก่อนเริ่มใช้งานทั่วไป
การแสดง/ซ่อนสัญลักษณ์
1. เลื่อนเมาส์คลิกที่ปุ่ม ¶
2. จะปรากฏแถบเครื่องหมายย่อหน้าและสัญลักษณ์การจัดรูปแบบอื่น ๆ ที่ซ่อนอยู่
3. คลิกปุ่ม ¶ บนหน้าต่างเอกสารจะแสดงเครื่องหมาย ¶ เป็นการขึ้นย่อหน้าใหม่
4. คลิกปุ่ม ¶ ซ้ำ เครื่องหมาย ¶ ถูกซ่อน
การปรับหน่วยวัดไม้บรรทัด มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม Office
2. คลิกที่ปุ่ม ตัวเลือก Word
3. คลิกที่รายการ ขั้นสูง
4. คลิกที่ลูกศร เลือกหน่วยเป็น นิ้ว
5. คลิกที่ปุ่ม ตกลง
6. สังเกตตัวเลขบนไม้บรรทัดหน้าต่าง Word 2007 แสดงเลข 1 ถึงเลข 6
- การตั้งค่าฟอนต์เริ่มต้นให้เหมาะสมกับการทำงาน มีขั้นตอนดังนี้
1. คลิกปุ่ม ด้านขวา แถบเครื่องมือ (Font)
2. เลือกแบบอักษรข้อความละติน : เลือก Angsana New ลักษณะอักษร : ธรรมดาขนาด : 16
3. คลิกปุ่ม ค่าเริ่มต้น เพื่อครั้งต่อไปเปิดใช้งานไม่ต้องกำหนดฟอนต์ใหม่
4. คลิกปุ่ม ตกลง
- การออกจากโปรแกรม Microsoft Office Word 2007 มีขั้นตอนดังนี้
วิธีที่1 ใช้ปุ่มคอนโทรล
ดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรลบนแถบไตเติ้ลบาร์จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
วิธีที่2 ใช้ปุ่มเครื่องมือ
คลิกที่ปุ่ม X (Close) มุมบนด้านขวาของหน้าต่างโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด
วิธีที่3 ใช้ปุ่มคำสั่ง
1. คลิกที่ปุ่ม Office หรือดับเบิ้ลคลิกที่ปุ่มคอนโทรล จะปิดหน้าต่างโปรแกรมทันที
2. คลิกที่ปุ่ม ออกจาก Word มุมล่างด้านขวา

วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

แบบฝึกหัด บทที่ 1


1. จงอธิบายวิวัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างละเอียด


ตอบ ยุคที่ 1 การประมวลผลข้อมูล (Data Processing Age) มีวัตถุประสงค์เพื่อการคำนวณและการประมวลผลข้อมูลของรายการประจำ (Transaction Processing) เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร

ยุคที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ (management Information System : MIS) มีการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการตัดสินใจ ควบคุม ดำเนินการ ติดตามผลและวิเคราะห์ผลงานของผู้บริหารระดับต่าง ๆ

ยุคที่ 3 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resource Management) ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเรียกใช้สารสนเทศที่จะช่วยในการตัดสินใจนำหน่วยงานไปสู่ความสำเร็จ

ยุคที่ 4 ยุคปัจจุบันหรือยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) ใช้ ระบบคอมพิวเตอร์และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นเครื่องมือช่วยในการจัดทำ ระบบสารสนเทศ และเน้นความคิดของการให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นวัตถุประสงค์สำคัญ


2. จงระบุองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ตอบ องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นอาจกล่าวได้ว่าประกอบขึ้นจากเทคโนโลยีสองสาขาหลักคือ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม สำหรับรายละเอียดพอสังเขปของแต่ละเทคโนโลยีมีดังต่อไปนี้คือ

1. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถจดจำข้อมูลต่าง ๆ และปฏิบัติตามคำสั่งที่บอก เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งให้ คอมพิวเตอร์นั้นประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ ต่อเชื่อมกันเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (Hardware) และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์นี้จะต้องทำงานร่วมกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกกันว่า ซอฟต์แวร์ (Software) (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2546: 4)

ฮาร์ดแวร์ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ

อุปกรณ์รับข้อมูล (Input) เช่น แผงแป้นอักขระ (Keyboard), เมาส์, เครื่องตรวจกวาดภาพ (Scanner), จอภาพสัมผัส (Touch Screen), ปากกาแสง (Light Pen), เครื่องอ่านบัตรแถบแม่เหล็ก (Magnetic Strip Reader), และเครื่องอ่านรหัสแท่ง (Bar Code Reader)

อุปกรณ์ส่งข้อมูล (Output) เช่น จอภาพ (Monitor), เครื่องพิมพ์ (Printer), และเทอร์มินัล

หน่วยประมวลผลกลาง จะทำงานร่วมกับหน่วยความจำหลักในขณะคำนวณหรือประมวลผล โดยปฏิบัติหน้าที่ตามคำสั่งของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงข้อมูลและคำสั่งที่เก็บไว้ไว้ในหน่วยความจำหลักมาประมวลผล

หน่วยความจำหลัก มีหน้าที่เก็บข้อมูลที่มาจากอุปกรณ์รับข้อมูลเพื่อใช้ในการคำนวณ และผลลัพธ์ของการคำนวณก่อนที่จะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งข้อมูล รวมทั้งการเก็บคำสั่งขณะกำลังประมวลผล

หน่วยความจำสำรอง ทำหน้าที่จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมขณะยังไม่ได้ใช้งาน เพื่อการใช้ในอนาคต


3. คุณลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดีมีอะไรบ้าง
ตอบ ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

โดย พื้นฐานของเทคโนโลยีย่อมมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ได้ แต่เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับวิถีความเป็นอยู่ของสังคม สมัยใหม่อยู่มาก ลักษณะเด่นที่สำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศมีดังนี้
§ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ในการประกอบการทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการอุตสาหกรรม จำเป็นต้องหาวิธีในการเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารเข้ามาช่วยทำให้ เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครื่องเอทีเอ็มได้ตลอดเวลา ธนาคารสามารถให้บริการได้ดีขึ้น ทำให้การบริการโดยรวมมีประสิทธิภาพ ในระบบการจัดการทุกแห่งต้องใช้ข้อมูลเพื่อการดำเนินการและการตัดสินใจ ระบบธุรกิจจึงใช้เครื่องมือเหล่านี้ช่วยในการทำงาน เช่น ใช้ในระบบจัดเก็บเงินสด จองตั๋วเครื่องบิน เป็นต้น
§ เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย เมื่อมีการพัฒนาระบบข้อมูล และการใช้ข้อมูลได้ดี การบริการต่าง ๆ จึงเน้นรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้สามารถสั่งซื้อสินค้าจากที่บ้าน สามารถสอบถามข้อมูลผ่านทางโทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบางมหาวิทยาลัยสามารถใช้คอมพิวเตอร์สอบถามผลสอบจากที่บ้านได้
§ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จำเป็น สำหรับการดำเนินการในหน่วยงานต่าง ๆ ปัจจุบันทุกหน่วยงานต่างพัฒนาระบบรวบรวมจัดเก็บข้อมูลเพื่อใช้ในองค์การ ประเทศไทยมีระบบทะเบียนราษฎร์ที่จัดทำด้วยระบบ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษี ในองค์การทุกระดับเห็นความสำคัญที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
§ เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ พัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ชีวิตความเป็นอยู่ของคนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี ดังจะเห็นได้จาก การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ การใช้ตารางคำนวณ และใช้อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมแบบต่าง ๆ เป็นต้น

4. จงบอกประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศมาอย่างน้อย 5 อย่าง
ตอบ 1. เสริม สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สังคมปัจจุบันเป็นสังคมที่ต้องทำงานแข่งขันกับเวลาจึงนำเอาเทคโนโลยีระบบ สื่อสารมาประยุกต์ใช้กับเครื่องอำนวยความสะดวกต่าง ๆ เช่น ควบคุมการปิด-เปิดไฟฟ้าในบ้านผ่านโทรศัพท์ ควบคุมระบบปรับอากาศ ตรวจสอบหมายเลขเรียกเข้าของโทรศัพท์ในบ้าน เป็นต้น
2. ทำ ให้เกิดความเท่าเทียมกันในสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศที่กระจายไปทั่วทุกแห่งทำให้ทุกคนที่สนใจมีโอกาสในการ เรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน เช่น ระบบการเรียนการสอนทางไกล ระบบอินเทอร์เน็ตตำบล ช่วยให้เกษตรกรรู้ความเคลื่อนไหวของราคาผลผลิตในแต่ละวัน แพทย์สามารถให้การรักษาพยาบาลกับผู้ป่วยที่อยู่ห่างไกลโดยตรวจอาการ ผ่านกล้องวีวิโอจากระบบอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3. ประโยชน์ ต่อการเรียนการสอนในโรงเรียนระบบคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนมีการเชื่อมต่อกับ เครือข่ายด้านการศึกษาต่าง ๆ เช่น โครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทยผ่านหมายเลขพระราชทาน 1509 หรือ SchoolNet ทำ ให้ทั้งนักเรียนและครูสามารถสืบค้นข้อมูลและสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้และ ประสบการณ์ในการเรียนการสอนช่วยให้การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงขึ้นมาก
4. ประโยชน์ ต่อสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติหลายอย่าง เช่น ป่า เขา แม่น้ำและทะเลถูกทำลายไปโดยฝีมือมนุษย์มากมาย ในการดูแลและบำรุงรักษาต้องใช้เทคโนโลยีในการเก็บข้อมูล เช่น ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมตรวจสอบสภาพการถูกทำลาย การตรวจสอบเขตป่าสงวนด้วยเครื่องบอกตำแหหน่งผ่านดาวเทียมทำให้ทราบว่าที่ใด อยู่ในเขตพื้นที่สงวนการเก็บข้อมูลและตรวจวัดคุณภาพของน้ำในแม่น้ำลำคลอง และทะเลตลอดจนวัดมลภาวะในอากาศทำให้ทราบว่ามีที่ใดปล่อยสารพิษออกมาสู่สภาพ แวดล้อม เป็นต้น
5. ประโยชน์ ต่อการป้องกันประเทศ อาวุธที่ใช้ทางการทหารยุคใหม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ทั้งสิ้น เช่น จรวดที่สามารถวิ่งเข้าหาเป้าหมายได้อย่างอัตโนมัติ ระบบการเฝ้าระวังการถูกรุกรานที่ควบคุมการทำงานด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
6. ประโยชน์ ด้านอุตสาหกรรมและพานิชกรรม การผลิตสินค้าและการจำหน่ายสินค้ามีการแข่งขันกันในตลาดโลกอย่างมาก เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้ผลิตสินค้าได้จำนวนมากและราคาถูกลง การจำหน่ายสินค้าต้องกระจายสารสนเทศของสินค้าและการบริการไปยังลูกค้าเพื่อ ให้ซื้อสินค้าได้สะดวกรวดเร็ว

5. จงบอกภัยของเทคโนโลยีสารสนเทศความความเข้าใจ

ตอบ อันตรายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศได้ก้าวเข้ามาในชีวิตประจำของมนุษย์มากขึ้น ทั้งในระดับบุคคลจนถึงองค์กร และระดับชาติ เนื่องจากเป็นที่ยอมรับกันดีเกี่ยวกับประโยชน์ต่างๆ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ แต่สิ่งใดก็ตามไม่ใช่มีเฉพาะด้านดีเพียงด้านเดียว เทคโนโลยีสารสนเทศ ก็เช่นกัน ย่อมมีผลกระทบต่อมนุษย์และองค์กรในด้านร้ายได้เช่นกัน โดยส่วนมากอันตรายจากไอที มักจะเกี่ยวข้องกับ
การขัดขวางการใช้ไอทีในเวลาที่ต้องการใช้งาน
การลิดรอนระบบสารสนเทศ
การสร้าง/ส่งข้อมูลลวง
การล้วงข้อมูลมาใช้งาน
ซึ่งอันตรายดังกล่าวมีผลกระทบได้ตั้งแต่ระดับเล็ก จนถึงระดับชาติได้ ทั้งนี้การกระทำดังกล่าวสามารถกระทำได้ทั้งจากระดับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ระบบการติดต่อสื่อสาร และบุคคลภายในองค์กรนั้นๆ โดยสามารถสรุปรูปแบบการก่อเหตุให้เกิดอันตรายได้ดังนี้
ผู้ใช้เถื่อน - ได้แก่ผู้ใช้ที่ไม่มีสิทธิในการเข้าถึงและใช้งานระบบ แต่อาศัยความสามารถพิเศษทางด้านเทคโนโลยีทำ การเจาะระบบป้องกันต่างๆ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะลักลอบล้วงข้อมูล ทั้งที่เป็นความลับและไม่ใช่ความลับ และอาจจะก่อความเสียหายให้กับข้อมูลทั้งการเปลี่ยนแปลงข้อมูล จนถึงการลบข้อมูล และการทำลายระบบ
ผู้ใช้ภายในระบบ - ได้แก่ผู้ใช้ที่มีสิทธิในระดับ แต่เป็นสายหรือทำตัวเป็นผู้ก่อการร้ายเสียเอง

6. ปัจจัยที่ทำให้เกิดความล้มเหลวในการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ตอบ จากงานวิจัยของ Whittaker (1999: 23) พบว่า ปัจจัยของความล้มเหลวหรือความผิดพลาดที่เกิดจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์การ มีสาเหตุหลัก 3 ประการ ได้แก่
1. การ ขาดการวางแผนที่ดีพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการวางแผนจัดการความเสี่ยงไม่ดีพอ ยิ่งองค์การมีขนาดใหญ่มากขึ้นเท่าใด การจัดการความเสี่ยงย่อมจะมีความสำคัญมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ทำให้ค่าใช้จ่ายด้านนี้เพิ่มสูงขึ้น
2. การ นำเทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสมมาใช้งาน การนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในองค์การจำเป็นต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับ ลักษณะของธุรกิจหรืองานที่องค์การดำเนินอยู่ หากเลือกใช้เทคโนโลยีที่ไม่สอดรับกับความต้องการขององค์การแล้วจะทำให้เกิด ปัญหาต่าง ๆ ตามมา และเป็นการสิ้นเปลืองงบประมาณโดยใช่เหตุ
3. การ ขาดการจัดการหรือสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูง การที่จะนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้งานในองค์กร หากขาดซึ่งความสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงแล้วก็ถือว่าล้มเหลวตั้งแต่ยัง ไม่ได้เริ่มต้น การได้รับความมั่นใจจากผู้บริหารระดับสูงเป็นก้าวย่างที่สำคัญและจำเป็นที่ จะทำให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์การประสบความสำเร็จ
สำหรับสาเหตุของความล้มเหลวอื่น ๆ ที่พบจากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ เช่น ใช้เวลาในการดำเนินการมากเกินไป (Schedule overruns), นำเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยหรือยังไม่ผ่านการพิสูจน์มาใช้งาน (New or unproven technology), ประเมินแผนความต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศไม่ถูกต้อง, ผู้จัดจำหน่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Vendor) ที่ องค์การซื้อมาใช้งานไม่มีประสิทธิภาพและขาดความรับผิดชอบ และระยะเวลาของการพัฒนาหรือนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้จนเสร็จสมบูรณ์ใช้เวลา น้อยกว่าหนึ่งปี

นอก จากนี้ ปัจจัยอื่น ๆ ที่ทำให้การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ไม่ประสบความสำเร็จในด้านผู้ใช้งานนั้น อาจสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ความ กลัวการเปลี่ยนแปลง กล่าวคือ ผู้คนกลัวที่จะเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งกลัวว่าเทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้ามาลดบทบาทและความสำคัญในหน้าที่การ งานที่รับผิดชอบของตนให้ลดน้อยลง จนทำให้ต่อต้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. การ ไม่ติดตามข่าวสารความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมาก หากไม่มั่นติดตามอย่างสม่ำเสมอแล้วจะทำให้กลายเป็นคนล้าหลังและตกขอบ จนเกิดสภาวะชะงักงันในการเรียนรู้และใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. โครง สร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศกระจายไม่ทั่วถึง ทำให้ขาดความเสมอภาคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือเกิดการใช้กระจุกตัวเพียงบางพื้นที่ ทำให้เป็นอุปสรรคในการใช้งานด้านต่าง ๆ ตามมา เช่น ระบบโทรศัพท์ อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ฯลฯ

วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นาย ชินดนัย
นามสกุล เสมอเหมือน
เกิดวันที่ 16 เดือน มกราคม พ.ศ. 2533
ที่อยู่ปัจจุบันที่ติดต่อได้ 38 เพชรเกษม48แยก9 แขวง บางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพ 10160
เบอร์โทรศัพท์นักศึกษา 084-020-1253
สุขภาพ
โรคประจำตัว ภูมิแพ้
แพ้ยา
บิดาชื่อ นาย จักรพันธ์ เสมอเหมือน    เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ 089-001-9391
มารดาชื่อ นาง ศิริกาญจน์ เสมอเหมือน เบอโทรศัพท์ติดต่อ 081-643-0039
อาจารย์ที่ปรึกษา อ.อำภา กุลธรรมโยธิน
มือถืออาจารย์ที่ปรึกษา 081-413-4242